ชิงทรัพย์
Thai
Etymology
From ชิง (ching, “to seize”) + ทรัพย์ (sáp, “thing (corporeal object); property (corporeal or incorporeal object)”).
Pronunciation
Orthographic | ชิงทรัพย์ d͡ʑ i ŋ d r ạ b y ʻ | |
Phonemic | ชิง-ซับ d͡ʑ i ŋ – z ạ ɓ | |
Romanization | Paiboon | ching-sáp |
Royal Institute | ching-sap | |
(standard) IPA(key) | /t͡ɕʰiŋ˧.sap̚˦˥/(R) |
Noun
ชิงทรัพย์ • (ching-sáp)
- (law) robbery.
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2017 March 24) “ประมวลกฎหมายอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 3 October 2019
- มาตรา ๓๓๙ ผู้ใดลักทรัพย์โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อ (๑) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์นั้นไป (๒) ให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น (๓) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (๔) ปกปิดการกระทำความผิดนั้น หรือ (๕) ให้พ้นจากการจับกุม ผู้นั้นกระทำความผิดฐานชิงทรัพย์ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบปีและปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสองแสนบาท
- mâat-dtraa · sǎam-rɔ́ɔi sǎam-sìp gâao · pûu dai lák-sáp dooi chái gam-lang bprà-tút-sà-ráai · rʉ̌ʉ kùu-kěn wâa nai tan-dai nán jà chái gam-lang bprà-tút-sà-ráai · pʉ̂ʉa · (nʉ̀ng) · hâi kwaam-sà-dùuak gɛ̀ɛ gaan-lák-sáp rʉ̌ʉ gaan-paa sáp nán bpai · (sɔ̌ɔng) · hâi yʉ̂ʉn hâi sʉ̂ng sáp nán · (sǎam) · yʉ́t-tʉ̌ʉ ao sáp nán wái · (sìi) · bpòk-bpìt gaan-grà-tam kwaam-pìt nán · rʉ̌ʉ · (hâa) · hâi pón jàak gaan-jàp-gum · pûu nán grà-tam kwaam-pìt tǎan ching-sáp dtɔ̂ng rá-waang-tôot jam-kúk dtâng-dtɛ̀ɛ hâa bpii tʉ̌ng sìp bpii lɛ́ bpràp dtâng-dtɛ̀ɛ nʉ̀ng sɛ̌ɛn bàat tʉ̌ng sɔ̌ɔng sɛ̌ɛn bàat
- Section 339 [When] anyone steals a thing by exercising forcible violence or threatening to immediately exercise forcible violence in order (1) to facilitate the stealing of the thing or the taking away of that thing; (2) to have [the victim] hand that thing over; (3) to take hold of that thing; (4) to conceal the commission of such offence; or (5) to avoid being arrested; that one commits an offence of robbery and shall be liable to imprisonment from five years to ten years and a fine from one hundred thousand baht to two hundred thousand baht.
- มาตรา ๓๓๙ ผู้ใดลักทรัพย์โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อ (๑) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์นั้นไป (๒) ให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น (๓) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (๔) ปกปิดการกระทำความผิดนั้น หรือ (๕) ให้พ้นจากการจับกุม ผู้นั้นกระทำความผิดฐานชิงทรัพย์ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบปีและปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสองแสนบาท
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2017 March 24) “ประมวลกฎหมายอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 3 October 2019
Verb
ชิงทรัพย์ • (ching-sáp) (abstract noun การชิงทรัพย์)
- (law) to rob; to commit robbery.
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2017 March 24) “ประมวลกฎหมายอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 3 October 2019
- มาตรา ๓๔๐ ผู้ใดชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่สามคนขึ้นไป ผู้นั้นกระทำความผิดฐานปล้นทรัพย์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สิบปีถึงสิบห้าปีและปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงสามแสนบาท
- mâat-dtraa · sǎam-rɔ́ɔi sìi sìp · pûu dai ching-sáp dooi rûuam gan grà-tam kwaam-pìt dûai gan dtâng-dtɛ̀ɛ sǎam kon kʉ̂n bpai · pûu nán grà-tam kwaam-pìt tǎan bplôn-sáp · dtɔ̂ng rá-waang-tôot jam-kúk dtâng-dtɛ̀ɛ sìp bpii tʉ̌ng sìp hâa bpii lɛ́ bpràp dtâng-dtɛ̀ɛ sɔ̌ɔng sɛ̌ɛn bàat tʉ̌ng sǎam sɛ̌ɛn bàat
- Section 340 [When] anyone commits robbery through the joint action of three persons or more, that one commits an offence of gang-robbery and shall be liable to imprisonment from ten years to fifteen years and a fine from two hundred thousand baht to three hundred thousand baht.
- มาตรา ๓๔๐ ผู้ใดชิงทรัพย์โดยร่วมกันกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่สามคนขึ้นไป ผู้นั้นกระทำความผิดฐานปล้นทรัพย์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สิบปีถึงสิบห้าปีและปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงสามแสนบาท
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2017 March 24) “ประมวลกฎหมายอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 3 October 2019
This article is issued from Wiktionary. The text is licensed under Creative Commons - Attribution - Sharealike. Additional terms may apply for the media files.